![]() |
||
|
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
ก่อนที่จะมีการประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ขึ้น สิ่งมีชีวิตต่างๆ ที่ศึกษาได้ก็คือ สิ่งมีชีวิตที่เห็นด้วยตาเปล่า เท่านั้นดังนั้นในยุคเริ่มแรกจึงแบ่ง อาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia) คือ สิ่งมีชีวิตที่ไม่มีคลอโรฟิลล์ สร้างอาหารเองไม่ได้ ต้องอาศัยอาหารจากพืช และสามารถเคลื่อนที่ ต่อมาเมื่อมีการผลิตกล้องจุลทรรศน์ขึ้นมา ทำให้พบสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมากมาย บางชนิดมีลักษณะเป็นพืช บางชนิดมีลักษณะเป็นสัตว์ บางชนิดมีลักษณะเป็นทั้งพืชและสัตว์ ทำให้ยุ่งยากต่อการจำแนกมาก เช่นยูกลีนา (Euglena) คลามัยโดโมแนส (Chlamydomonas) และ ซึ่งสิ่งมีชีวิตทั้ง 3 ชนิดที่กล่าวมานี้มีลักษณะของสัตว์คือ มีแฟลเจลลัมช่วยในการเคลื่อนที่ มีอวัยวะรับแสง (Eye spot) และมี ดังนั้นสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ นักสัตววิทยา (Zoologist) และนักพฤกษศาสตร์ (Botanist) ต่างก็จัดไว้ในประเภทที่แตกต่างกัน จึงมีผู้เข้ามาแก้ไขปัญหา 1.อาณาจักรโพรทิสตา (Kingdom Protista) ได้แก่สิ่งมีชีวิตที่มีโครงสร้างเป็นแบบง่ายๆเช่น เป็นเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ ในกรณีของ 2.อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae หรือ Kingdom Metaphyta) ได้แก่สิ่งมีชีวิตที่มีหลายเซลล์ เซลล์บางเซลล์มีการเปลี่ยนแปลงไปทำ 3.อาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia หรือ Kingdom Metazoa) ได้แก่สิ่งมีชีวิตพวกที่มีหลายเซลล์ เซลล์รวมกันเป็นเนื้อเยื่อ แต่ โคปแลนด์ (Copeland) ได้แบ่งสิ่งมีชีวิตออกเป็น 4 อาณาจักร โดยแยกแบคทีเรียและสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินออกจาก วิทเทเคอร์ (Whittaker) ได้แยกเห็ดราออกจากโพรทิสตา แล้วตั้งเป็น อาณาจักรฟังไจ (Kingdom Fungi) จึงนับเป็นทั้งหมด 5 อาณาจักร คือ จากที่ผ่านมาจะพบว่าไวรัส (Virus) และไวรอยด์ (Viroid) ไม่ได้จัดไว้ในอาณาจักรใดเลย ทั้งที่มีคุณสมบัติของสิ่งมีชีวิตครบ คือ สามารถสืบพันธุ์และเพิ่มจำนวนได้ ดังนั้นนักวิทยาศาสตร์บางท่านจึงจัดไวรัส และไวรอยด์ ไว้ในอีกอาณาจักรหนึ่งคือ คาร์ล วูสต์ (Carl Woese) และคณะได้นำความรู้ด้านชีวโมเลกุล มาใช้ในการวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์ในยีนของ rRNA เพื่อตรวจสอบหาความสัมพันธ์ทางสายวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต แล้วเสนอให้มีการจัดจำแนกสิ่งมีชีวิตระบบใหม่ขึ้นมาเหนือกว่าระดับอาณาจักร
จะเห็นได้ว่าการจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตเป็นเพียงสมมติฐานของนักวิทยาศาสตร์ที่กำหนดรูปแบบออกมาเพื่อให้เหมาะสมสอดคล้องที่สุดกับ แต่ในแบบฝึกเล่มนี้จะใช้เกณฑ์ร่วมหลายเกณฑ์ในการจัดจำแนก โดยพิจารณาจากซากดึกดำบรรพ์ ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ความคล้ายคลึงกันของโครงสร้างการทำงาน การเปรียบเทียบสารชีวโมเลกุล และความสัมพันธ์ทางสายวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ซึ่งจากหลักฐานดังกล่าวเราจะศึกษาโดยแบ่งสิ่งมีชีวิตออกเป็น 5 อาณาจักร คือ อาณาจักรมอเนอรา , อาณาจักรโพรทิสตา ,อาณาจักรพืช ,
|
|
รวบรวมเรียบเรียงโดย ครูนันทนา สำเภา โรงเรียนปทุมราชวงศา |