การศึกษาเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ

อาณาจักรมอเนอรา

     :: อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต

     :: แบบฝึกที่ 2.1

     :: ลักษณะสำคัญของแบคทีเรีย

     :: แบบฝึกที่ 2.2

     :: ความหลากหลายของแบคทีเรีย

     :: แบบฝึกที่ 2.3

อาณาจักรโพรทิสตา

อาณาจักรพืช

อาณาจักรฟังไจ

สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง

สัตว์มีกระดูกสันหลัง

Download เอกสารเผยแพร่

กลับหน้าหลัก

----------------------๐๐๐--------------------
๐ พันธมิตร ๐

HSK

MUIC

MSU EPT

 

 

แบบฝึกที่ 2.3

          

คำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านคำสั่ง และตอบคำถามต่อไปนี้

1.ให้นักเรียนพิจารณาภาพแบคทีเรียต่อไปนี้  แล้วใช้ข้อความในตารางที่มีความสัมพันธ์กับภาพเติมลงใต้ภาพให้ถูกต้อง   

แอนาบีนา

สไปโรคีต

ออสซิลลาทอเรีย

แหนแดง

เพอเพิลซัลเฟอร์แบคทีเรีย

ไรโซเบียมในปมรากพืชตระกูลถั่ว

เชื้อโรคโกโนเรีย

ไมโคพลาสมา

   

1.1 ………………………………………

 

1.2 ………………………………………

 

1.3 ………………………………………

 

1.4 ………………………………………

 

1.5 ………………………………………

 

1.6 ………………………………………

 

1.7 ………………………………………

 

1.8 ………………………………………

 

2. ให้นักเรียนพิจารณาข้อความต่อไปนี้ หากพิจารณาว่ากล่าวถูกให้ทำเครื่องหมาย / หากผิดให้ทำเครื่องหมาย X หน้าข้อความ

ข้อที่

คำตอบ

ข้อความ

2.1

 

อาร์เคียแบคทีเรียเป็นแบคทีเรียที่ดำรงชีวิตได้ในสภาวะแวดล้อมที่สุดขั้ว (Extreme environment)

2.2

 

อาร์เคียแบคทีเรีย เป็นแบคทีเรียที่มนุษย์รู้จักและนำมาใช้ประโยชน์มากที่สุดในปัจจุบัน

2.3

 

ความแตกต่างหนึ่งด้านโครงสร้างเซลล์ของอาร์เคียแบคทีเรียและ ยูแบคทีเรีย คือ โครงสร้างของผนังเซลล์

2.4

 

Halobacterium เป็นแบคทีเรียที่สามารถเจริญได้ดีในสภาพที่ไร้ออกซิเจน

2.5

 

Thermoproteus  เป็นแบคทีเรียที่เจริญได้ดีในที่ที่อุณหภูมิสูง

2.6

 

Sulfolobus  เจริญได้ดีในบริเวณที่มีความเค็มมาก

2.7

 

Methanococcus เจริญได้ดีในบริเวณภูเขาไฟ

2.8

 

แบคทีเรียแกรมบวกผนังเซลล์จะย้อมติดสีแดงของสีซาฟรานิน

2.9

 

แบคทีเรียแกรมลบผนังเซลล์จะย้อมติดม่วงของสีคริสตรัลไวโอเลต

2.10

 

แบคทีเรียแกรมลบ ได้แก่ โพรทีโอแบคทีเรีย, คลาไมเดีย, สไปโรคีท และ
สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน

2.11

 

โพรทีโอแบคทีเรีย ได้แก่ เพอเพิลซัลเฟอร์แบคทีเรีย และ ไรโซเบียม

2.12

 

Rhizobium sp. พบในปมรากพืชตระกูลถั่วช่วยตรึงก๊าซไนโตรเจนในอากาศให้พืชสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้

2.13

 

โรคหนองใน มีสาเหตุมาจากยูแบคทีเรียกลุ่มคลาไมเดีย (Chlamydias)

2.14

 

Leptospira interrogans เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ทำให้เกิดโรคฉี่หนู ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย

2.15

 

Lactobacillus sp. เป็นแบคทีเรียที่ใช้ในอุตสาหกรรมนมเปรี้ยวและผักดอง เมื่อย้อมด้วยสีซาฟรานิน ผนังเซลล์จะย้อมไม่ติดสี

2.16

 

การสร้างเอนโดสปอร์ของของ Bacillus sp. จัดเป็นการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศวิธีหนึ่ง

2.17

 

ยูแบคทีเรียที่มีขนาดเล็ก ไมโครพลาสมา (Microplasma) เป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคปอดบวมในคนและวัว

2.18

 

Cyanobacteria เป็นแบคทีเรียกลุ่มเดียวที่สามารถผลิตก๊าซออกซิเจนได้

2.19

 

สารสี(Pigment) ที่ใช้ในการสังเคราะห์แสงของแบคทีเรียจะบรรจุอยู่ในคลอโรพลาสต์

2.20

 

สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินเป็นปัจจัยที่ช่วยให้โลกมีออกซิเจนปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงก่อนที่เซลล์โพรคาริโอตจะวิวัฒนาการมาเป็น
เซลล์ยูคาริโอต

2.21

 

ไรโซเบียม ,นอสตอก , ออสซิลาทอเรีย และแอนนาบีนา สามารถตรึงก๊าซไนโตรเจนในอากาศ ให้อยู่ในรูปของไนโตรเจนที่พืชพร้อมใช้งานได้

2.22

 

แบคทีเรียบางชนิดดำรงชีวิตเป็นผู้ย่อยสลาย (Decomposer) เช่นเดียวกับเห็ด รา

2.23

 

การเลี้ยงแหนแดงในนาข้าวจะช่วยเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรให้กับเกษตรกรเนื่องจากแหนแดงมีส่วนช่วยเพิ่มปุ๋ยไนโตรเจนให้กับข้าว

 

3. พิจารณาจากข้อ 2 ในข้อที่นักเรียนลงความเห็นว่าเป็นข้อความที่ผิด X ให้นักเรียนอธิบายเพิ่มเติมว่าข้อดังกล่าว กล่าวผิดอย่างไร และที่ถูกต้องควรเป็นเช่นไร

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

 

 

   

รวบรวมเรียบเรียงโดย ครูนันทนา สำเภา โรงเรียนปทุมราชวงศา
อำเภอปทุมราชวงศา จังหวัดอำนาจเจริญ