การศึกษาเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ

อาณาจักรมอเนอรา

อาณาจักรโพรทิสตา

อาณาจักรพืช

     :: กำเนิดและลักษณะสำคัญของพืช

     :: แบบฝึกที่ 4.1

     :: ความหลากหลายของพืช

     :: พืชไม่มีท่อลำเลียง

            ไฟลัมเฮปาโทไฟตา

            ไฟลัมแอนโทซีโรไฟตา

            ไฟลัมไบรโอไฟตา

           ประโยชน์ของพืชไม่มีท่อลำเลียง

     :: พืชมีท่อลำเลียง

         พืชมีท่อลำเลียงไร้เมล็ด

         พืชมีท่อลำเลียงมีเมล็ด

     :: แบบฝึกที่ 4.2

อาณาจักรฟังไจ

สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง

สัตว์มีกระดูกสันหลัง

Download เอกสารเผยแพร่

กลับหน้าหลัก

----------------------๐๐๐--------------------
๐ พันธมิตร ๐

HSK

MUIC

MSU EPT

 

 

พืชไม่มีท่อลำเลียง (Nonvascular plants)

           เชื่อว่าพืชกลุ่มนี้เป็นกลุ่มแรก ๆ ที่วิวัฒนาการขึ้นสู่บนบก จึงยังคงมีลักษณะที่ต้องการความชุ่มชื้นหรือน้ำเพื่อ
การอยู่รอด และอาศัยน้ำในการสืบพันธุ์ ดังนั้นจึงมักพบเจริญตามพื้นดินที่มีความชื้นมาก อย่างไรก็ตามพืชกลุ่มนี้ค่อนข้างจะไวต่อซัลเฟอร์ไดออกไซด์ จึงสามารถใช้เป็นตัวบอกสภาวะมลภาวะในอากาศได้้เช่นเดียวกับ ไลเคน (Lichen)
พืชในกลุ่มนี้มีขนาดเล็ก ไม่มีระบบท่อลำเลียง และไม่มีเนื้อเยื่อที่เป็น
สารลิกนิน(Lignified tissues) เซลล์มีสัดส่วนของคลอโรฟิลล์เอ และบี ใกล้เคียงกับสาหร่ายสีเขียว
รวมถึงมีต้นอ่อน(Protonema) ในระยะแกมีโตไฟต์ ที่คล้ายคลึงกับสาหร่ายสีเขียว พืชกลุ่มนี้ไม่มี ราก ใบ ที่แท้จริง แต่มี
ไรซอยด์(Rhizoid) ช่วยในการยึดเกาะกับวัสดุที่เจริญอยู่ มีส่วนของ ฟิลลอยด์ (Phylloid) ที่ดูคล้ายใบ และ
ส่วนเคาลอยด์ (Cauloid) ที่ดูคล้ายต้น ดังที่กล่าวไว้เบื้องต้นพืชมีวงชีวิตแบบสลับพืชในกลุ่มนี้จะม
ีระยะแกมีโทไฟต์ (Gametophyte) เด่นกว่าสปอรโรไฟต์ (Sporophyte) โดย สปอโรไฟต์ (Sporophyte) ที่มีขนาดเล็กมากนั้น จะเจริญพัฒนาอยู่บนแกมีโทไฟต์ (Gametophyte) ตลอดชีวิตพืชไม่มีท่อลำเลียงมี
ประมาณ 23,000 ชนิด แบ่งออกเป็น 3 ไฟลัม ดังนี้
          

ไฟลัมเฮปาโทไฟตา (Phylum Hepatophyta)

ไฟลัมแอนโทซีโรไฟตา (Phylum Anthocerophyta)

ไฟลัมแอนโทซีโรไฟตา (Phylum Anthocerophyta)

 

 

   

รวบรวมเรียบเรียงโดย ครูนันทนา สำเภา โรงเรียนปทุมราชวงศา
อำเภอปทุมราชวงศา จังหวัดอำนาจเจริญ