การศึกษาเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ

อาณาจักรมอเนอรา

อาณาจักรโพรทิสตา

อาณาจักรพืช

อาณาจักรฟังไจ

อาณาจักรสัตว์

    :: ความหลากหลายของสัตว์

    :: สัตว์ที่ไม่มีเนื้อเยื่อที่แท้จริง

    :: สัตว์ที่มีเนื้อเยื่อ

           ไฟลัมไนดาเรีย

           ไฟลัมแพลทีเฮลมินทิส

           ไฟลัมมอลลัสคา

           ไฟลัมแอนเนลิดา

           ไฟลัมนีมาโทดา

          ไฟลัมอาร์โทรโพดา

          ไฟลัมเอไคโนเดอร์มาตา

           ไฟลัมคอร์ดาตา

    :: แบบฝึกที่ 6.1

    :: แบบฝึกที่ 6.2

สัตว์มีกระดูกสันหลัง

    :: กลุ่มที่โนโทคอร์ดไม่พัฒนาเป็นกระดูกสันหลัง

    :: กลุ่มที่มีกระดูกสันหลัง 

          ปลากระดูกอ่อน

           ปลากระดูกแข็ง

           คลาสแอมฟิเบีย

           คลาสเรปทิเลีย

           คลาสเอเวส

           คลาสแมมมาเลีย  

      :: แบบฝึกที่ 7.1

Download เอกสารเผยแพร่

กลับหน้าหลัก

----------------------๐๐๐--------------------
๐ พันธมิตร ๐

HSK

MUIC

MSU EPT

 

 

กลุ่มที่์มีกระดูกสันหลัง

 

         สัตว์มีกระดูกสันหลังมีลักษณะทั่วไปคือ เป็นสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังเป็นโครงร่างแกนกลาง มี semicircular canal ข้างละ 2-3 อัน มีกล้ามเนื้อที่กระดูกรยางค์หรือครีบ สัตว์มีกระดูกสันหลัง (Vertebrate) แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่คือ สัตว์มีกระดูกสันหลังที่ไม่มีขากรรไกร และสัตว์มีกระดูกสันหลังที่มีขากรรไกร

สัตว์มีกระดูกสันหลังที่ไม่มีขากรรไกร

          สัตว์มีกระดูกสันหลังที่ไม่มีขากรรไกร เป็นสัตว์น้ำ ได้แก่ ปลาไม่มีขากรรไกร ส่วนใหญ่จะสูญพันธุ์ไปแล้ว ปลาไม่มีขากรรไกรที่พบในปัจจุบันคือ ปลาปากกลม เช่น  แลมเพรย์(lamprey) ซึ่งมีรูปร่างคล้ายปลาไหล มีรูจมูกรูเดียว มีโครงร่างเป็นกระดูกอ่อนและไม่มีครีบคู่เหมือนปลาทั่วไป มีอวัยวะคล้ายฟันใช้ยึดปลาชั้นสูงเพื่อดูดเลือด

สัตว์มีกระดูกสันหลังที่มีขากรรไกร

         สัตว์มีกระดูกสันหลังที่มีขากรรไกร ได้มีวิวัฒนาการเกิดขึ้นระหว่างปลายยุคซิลูเรียน และช่วงต้นยุดดีโวเนียน โดยพบซากดึกดำบรรพ์เป็นปลามีขากรรไกรที่เชื่อว่าน่าจะมีบรรพบุรุษร่วมกับฉลาม และปลากระดูกแข็ง ซึ่งกำเนิดขึ้นเมื่อประมาณ 450 ล้านปี ถึง 425 ล้านปี ที่ผ่านมา สัตว์มีกระดูกสันหลังที่มีขากรรไกร ได้แก่ ปลาที่มีขากรรไกรซึ่งแบ่งเป็น ปลากระดูกแข็ง และ ปลากระดูกอ่อน, คลาสแอมฟิเบีย (Class Amphibia) , คลาสเรปทิเลีย (Class Reptilia), คลาสเอเวส (Class Aves),คลาสแมมมาเลีย (Class Mammalia)

           

 

 

   

รวบรวมเรียบเรียงโดย ครูนันทนา สำเภา โรงเรียนปทุมราชวงศา
อำเภอปทุมราชวงศา จังหวัดอำนาจเจริญ